Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39995
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. นทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.วินธนา คูศิริสิน-
dc.contributor.authorกฤษณพงศ์ นาทิพย์en_US
dc.date.accessioned2017-08-25T07:27:47Z-
dc.date.available2017-08-25T07:27:47Z-
dc.date.issued2557-09-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39995-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study was to promote the activities for enhancing knowledge on food and nutrition and nutritional status of students of Nakornbangyangpittayakom School.The target group was 43 MatthayomSuksa 1-6 students who aged between 12-18years old and have lived in school dormitory in the second semester of the academic year 2013 at Nakornbangyangpittayakom School, Phisanulok Province. There were five types of research instruments-scales, personal record from weight and height, pre-test and post-test, lesson plans, and satisfaction questionnaire toward using activities for enhancing knowledge on food and nutrition. The data obtained were analyzed by using percentage, mean, and standard deviation. Nutritional status data were analyzed by using weight for age, height for age, and weight for height compared with the criteria of the growth of children aged 5-18 years old from Health Department, Ministry of Public Health version 2010. The findings were found that after enhancing knowledge on food and nutrition 97.63 percent of students passed the activities and students mean scores were increased from 63.34 percent to 71.74 percent. Students’ scores divided into 6 topics were also increased when comparing with pre-test in term of the five food groups, Public Health Division’s nine points dietary guidelines, nutrition for adolescence, nutrition assessment, physical movement, and emotion and stress management 8.70, 9.58, 18.66, 11.62, 10.08, and 18.61 percent respectively. When using nutritional assessment, nutritional status of students met the normal level and students were highly satisfied with the activities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโภชนาการen_US
dc.titleกิจกรรมเสริมสร้างความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการกับ ภาวะโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนนครบางยางพิทยาคมen_US
dc.title.alternativeActivities for Enhancing Knowledge on Food and Nutrition and Nutritional Status of Students of Nakornbangyangpittayakom Schoolen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc613.2-
thailis.controlvocab.thashนักเรียน -- โภชนาการ-
thailis.controlvocab.thashโภชนาการ-
thailis.manuscript.callnumberว 613.2 ก918ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนนครบางยางพิทยาคม ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-6 อายุระหว่าง 12-18 ปี ที่พักประจำในบ้านพักนักเรียนโรงเรียนนครบางยางพิทยาคม อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลกภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ เครื่องชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงและแบบบันทึกน้ำหนักและส่วนสูง แบบทดสอบก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ แผนการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ และแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนภาวะโภชนาการประเมินโดยใช้น้ำหนักตามเกณฑ์อายุ ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุและน้ำหนักตาเกณฑ์ส่วนสูงเทียบกับกราฟแสดงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 5-18 ปี ของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2553 ผลการศึกษา พบว่า เมื่อสิ้นสุดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการนักเรียนส่วนใหญ่ผ่านกิจกรรมคิดเป็นร้อยละ 97.63 ทำให้นักเรียนมีคะแนนโดยรวมหลังเรียนอยู่ในเกณฑ์สูง มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมเพิ่มจากร้อยละ 63.34 เป็น ร้อยละ 71.74โดยมีคะแนนจากการทดสอบหลังเรียนทั้ง 6 ด้านอยู่ในเกณฑ์สูง และเมื่อเทียบกับก่อนเรียนพบว่าความรู้ด้านอาหารหลัก 5 หมู่ด้านโภชนบัญญัติ 9ประการด้านโภชนาการสำหรับวัยรุ่นด้านการประเมินภาวะโภชนาการด้านการออกกำลังกายและด้านการจัดการกับอารมณ์และความเครียดมีคะแนนเพิ่มขึ้นร้อยละ8.70,9.58,18.66,11.62,10.08 และ18.61ตามลำดับ เมื่อประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้น้ำหนักตามเกณฑ์อายุ ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุและน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงพบว่ามีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ปกติ และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT382.51 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX 1.pdfAPPENDIX 1201.6 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX 2.pdfAPPENDIX 22.18 MBAdobe PDFView/Open
APPENDIX 3.pdfAPPENDIX 31.47 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1326.07 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2634.59 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3262.45 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4390.46 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5357.77 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT242.13 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER657.87 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE409.68 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.