Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39977
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์-
dc.contributor.authorเพียงพร คำมูลen_US
dc.date.accessioned2017-08-25T03:39:04Z-
dc.date.available2017-08-25T03:39:04Z-
dc.date.issued2557-08-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39977-
dc.description.abstractChiang Mai - Lamphun Road located on Highway 106 is regarded as the ancient thoroughfare between communities since the reign of King Rama V. Dominant feature of the road is rubber trees lining up along the 15-kilometer road. As there have been Lanna people living from the past, valuable and unique cultural heritage of Lanna remains. However, the growth and development of the community nowadays impact lifestyles of Lanna residents. This study, thus, aims to propose the methods of learning and cultural tourism along the ancient road Chiang Mai – Lamphun as well as promote this road to be the precious cultural heritage of the community. Therefore, the residents will have a sense of pride and realize the important of maintaining this cultural heritage. The study is quantitative research to which the interdisciplinary study is employed. The findings are presented through the description. According to the study, there are 50 interesting cultural landmarks along the Chiang Mai - Lamphun Road. The 32 landmarks are selected to be the path of learning and cultural tourism. They are divided into two types including (1) the form of learning and cultural tourism which can be categorized due to their type of heritage namely, the community market and handicraft as well as the temples and historic sites and (2) the form of learning and cultural tourism focusing on the overview of Chiang Mai - Lamphun Road. Besides, this study proposes the methods of learning and tourism management in which the residents can get involved and the media concerning learning and cultural tourism along this route.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.titleเส้นทางวัฒนธรรมถนนโบราณสายเชียงใหม่-ลำพูน เพื่อการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.title.alternativeThe Cultural Ancient Route Along Chiang Mai-Lamphun Road for Learning and Cultural Tourismen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc915.9362-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashโบราณสถาน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashโบราณสถาน -- ลำพูน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 915.9362 พ612ส-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractถนนสายเชียงใหม่-ลำพูน ตั้งอยู่บนทางหลวงหมายเลข 106 ถือได้ว่าเป็นถนนสายโบราณที่ใช้สัญจรระหว่างชุมชนโดยมีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 มีลักษณะเด่นคือมีการปลูกต้นยางใหญ่เรียงรายกันตลอดระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร ที่สำคัญคือมีชุมชนชาวล้านนาอาศัยอยู่มาตั้งแต่อดีต ทำให้ปัจจุบันยังคงปรากฏมรดกวัฒนธรรมที่มีคุณค่าและมีเอกลักษณ์ของชาวล้านนาอยู่ แต่เนื่องจากปัจจุบันความเจริญเติบโตได้พัฒนาเข้ามาในพื้นที่ ส่งผลให้ชุมชนเกิดการขยายตัวซึ่งอาจส่งผลกระทบมาสู่วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวล้านนาในพื้นที่ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการจัดการเส้นทางการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามเส้นทางวัฒนธรรมถนนโบราณสายเชียงใหม่-ลำพูน ให้เป็นแหล่งมรดกวัฒนธรรมที่มีคุณค่าของชุมชน เพื่อที่ชุมชนจะได้เกิดความรู้สึกหวงแหนและร่วมกันรักษามรดกวัฒนธรรมให้คงอยู่ต่อไป รูปแบบของการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการศึกษาในรูปแบบสหวิทยาการ (interdisciplinary research) และนำเสนอผลการวิจัยในรูปแบบพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ในชุมชนตามแนวถนนโบราณสายเชียงใหม่ – ลำพูน มีแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่น่าสนใจ 50 แห่ง ได้ทำการคัดเลือกแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อจัดการเส้นทางการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจำนวน 32 แห่ง และนำมาจัดเส้นทางการเรียนรู้และท่องเที่ยวได้ 2 รูปแบบ คือ (1) รูปแบบการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ที่จำแนกไปตามประเภทมรดกวัฒนธรรม ได้แก่ แหล่งตลาดชุมชนและศิลปหัตถกรรม กับวัดวาอารามและโบราณสถาน(2)รูปแบบการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาพรวมของถนนโบราณสายเชียงใหม่ – ลำพูน นอกจากนี้ยังเสนอแนวทางการจัดการการเรียนรู้และท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ในพื้นที่ รวมทั้งเสนอแนวทางการจัดทำสื่อของการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามเส้นทางนี้อีกด้วยen_US
Appears in Collections:GRAD-Humanities and Social Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT157.11 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX172.93 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1231.85 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2484.61 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3422.98 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 44.66 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 51.47 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 6.pdfCHAPTER 6207.92 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT214.34 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER537.85 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE252.53 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.