Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39976
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ ทั่งมั่งมี | - |
dc.contributor.author | เฉลิมพล คุ้มศรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-08-25T03:36:00Z | - |
dc.date.available | 2017-08-25T03:36:00Z | - |
dc.date.issued | 2557-08-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39976 | - |
dc.description.abstract | Music has been applied for therapeutic purposes for a long time ago. To date, music is applied in every part of organization for both treatment and recreation, which influences physical and mental health. From previous studies, it was found that problems in applying music for health promotion of Lampang Center Hospital can be concluded as follows. The music was performed by Thai musical band. Those who played music were mostly personnel of Lampang Center Hospital including retired government officer and volunteers. At present, the band lacks of musicians and its members are decreasing. There is no responsible person, coordination and control. Moreover, the personnel do not have time to rehearse together. Therefore, the music is imperfect and tasteless. Furthermore, the instruments are not managed and maintained. Since the budget is insufficient, it is not successful and cannot achieve the goal of health promotion. Thus, one solution to alleviate anxiety of the patients and their relatives is to use Lanna folk music. This is because familiarity and relaxing feel when listening relieves the patients and their relatives. The important principle of health promotion is allowing the community to participate their own health. Therefore, playing folk music with participation of the community in the hospital is considered a method for health promotion. That is the application of Lanna folk music in the hospital for benefits and effectiveness for health promotion. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | โรงพยาบาลศูนย์ลำปาง | en_US |
dc.subject | ดนตรีบำบัด | en_US |
dc.title | การจัดการการใช้ดนตรีพื้นบ้านล้านนาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ในโรงพยาบาลศูนย์ลำปาง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง | en_US |
dc.title.alternative | The Management of Lanna Folk Music Using for Promotive Health in Lampang Hospital, Mueang District, Lampang Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 781.62 | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาลศูนย์ลำปาง | - |
thailis.controlvocab.thash | ดนตรีพื้นบ้าน | - |
thailis.controlvocab.thash | การส่งเสริมสุขภาพ | - |
thailis.controlvocab.thash | ดนตรีบำบัด | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 781.62 ฉ573ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การใช้ดนตรีเพื่อการบำบัดได้มีมาช้านาน โดยเฉพาะในปัจจุบันพบว่า มีการใช้ดนตรีในทุกส่วนขององค์กร ทั้งเพื่อการบำบัดและการผ่อนคลาย ส่งผลต่อภาวะสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ/ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าปัญหาของการจัดการการใช้ดนตรีเพื่อการส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลศูนย์ลำปาง ซึ่งบุคลากร ที่มาร่วมบรรเลงส่วนใหญ่เป็นบุคลากรของทางโรงพยาบาลศูนย์ลำปาง รวมทั้งข้าราชการเกษียณและผู้มีจิตอาสามาช่วยสนับสนุน คือ 1) ขาดแคลนบุคลากรที่ร่วมบรรเลงดนตรีและมีจำนวนลดลงอย่างต่อเนื่อง 2) ขาดผู้รับผิดชอบดำเนินการประสานงานและควบคุมวง 3)บุคลากรไม่มีเวลา ขาดการฝึกซ้อมร่วมกัน ทำให้วงดนตรีขาดความสมบูรณ์และการบรรเลงขาดอรรถรส 4) ขาดการจัดการดูแลเครื่องดนตรี การเก็บรักษา และ 5) ขาดแคลนงบประมาณสนับสนุนที่เหมาะสมจึงทำให้ไม่ประสบผลสำเร็จและบรรลุเป้าหมายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพเท่าที่ควร ดังนั้น การหาแนวทางเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยและญาติ ได้มีความรู้สึกผ่อนคลาย ลดความวิตกกังวล ประการหนึ่ง คือ การใช้ดนตรีพื้นบ้านล้านนา / เพราะความคุ้นเคยจากการที่ได้รับฟัง และความรู้สึกถึงความผ่อนคลาย / จากการที่ได้รับฟัง ทำให้ผู้ป่วยและญาติ คลายความวิตกกังวลลงได้ /และหลักประการสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ คือการให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง ดังนั้นการใช้ดนตรีพื้นบ้านโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชนเพื่อบรรเลงในโรงพยาบาลนั้น ก่อให้เกิดความสัมพันธ์กับแนวทางการส่งเสริมสุขภาพได้เป็นอย่างดี จึงถือได้ว่าเป็นแนวทางที่สามารถนำมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ ให้แก่โรงพยาบาลนั้นคือการใช้ดนตรีพื้นบ้านล้านนา เพื่อให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพ เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Humanities and Social Sciences: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 167.4 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 457.49 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 307.27 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 1.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 267 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 855.87 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 6.pdf | CHAPTER 6 | 238.15 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 174.77 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 769.1 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 263.96 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.