Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39957
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ บุญเชียง-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เดชา ทำดี-
dc.contributor.authorรุ่งนภา มหาวรรณศรีen_US
dc.date.accessioned2017-08-24T04:51:43Z-
dc.date.available2017-08-24T04:51:43Z-
dc.date.issued2558-10-30-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39957-
dc.description.abstractCaring factor, noticed factor and parents closeness factor are factor influence family communication on sexual due to these three factors are part of relation creating of parents and teenager. The objectives of this study are to study factor influence family communication on sexual, family communication on sexual, including relation of factor influence family communication on sexual of senior high school students. The subjects in the study included students who are studying in Matthayom 4-6, term 1 in academic year 2015 in Chiang Dow District, Chiang Mai province. There are 3 schools and 285 students. The Data was collected during December 2014 to August 2015. The study instrument was questionnaires and interview that are provided data analysis organization by using descriptive statistics and relational test by using Pearson’s correlation coefficient that was a normality distribution and was confidence level at 95 percent. The study found that factor relation of general information with family communication on sexual found that family format factor, the same sexsual siblings and sex of teenager found that they weren’t related with family communication on sexual (r=-0.005 , 0.011 และ 0.109) which was statistic significance p<000 but when they were considerated of caring factor, noticed factor and parents closeness factor with family communication on sexual found thatcaring factor, noticed factor and closeness factor found that they related with family communication on sexual (r = 0.212 , 0.238 และ 0.197) which was statistic significance as level 0.05. In addition, the results from the interviewas data analysis organization followed issues of consulting, recommendation and discussing about sex between student and parents that was issue about birth control, sexual transmitted disease and behavior when they go to teenager. The results of this study indicated that caring factor, noticed factor and closeness factor were important at family communication on sexual. In consequence, public health personnel and institute concerned should awareness and give precedence to these factors to plan efficiently in promoting and supporting the right family communication on sexual in order to decrease inappropriate sexual behavior of students.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเพศศึกษาสำหรับวัยรุ่นen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactor Influence Family Communication on Sexual Issues Among Secondary School Students in Chiang Dao District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc306.7-
thailis.controlvocab.thashเพศศึกษาสำหรับวัยรุ่น -- เชียงดาว (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการสื่อสารในครอบครัว -- เชียงดาว (เชียงใหม่)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 306.7 ร425ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจัยด้านปัจจัยด้านการเลี้ยงดู การเฝ้าสังเกต และด้านความใกล้ชิดของผู้ปกครอง เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัวเนื่องจากปัจจัยทั้ง 3 ด้านนี้ เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสัมพันธภาพของผู้ปกครองกับวัยรุ่น ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว การสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว รวมทั้งความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อการสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัวของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ นักเรียนกำลังศึกษาในมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ปีการศึกษา 2558 ภาคการศึกษาที่ 1 เขตอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ทั้งหมดจำนวน 3 โรงเรียนจำนวนทั้งสิ้น 285 ราย รวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 ถึง เดือนสิงหาคม 2558 เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการการทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ซึ่งมีการกระจายของข้อมูลแบบปกติ ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 ผลการวิจัยพบว่าความสัมพันธ์ปัจจัยด้านข้อมูลทั่วไปกับการสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัวพบว่า ปัจจัยด้านรูปแบบของครอบครัว การมีพี่น้องเพศเดียวกัน และเพศของวัยรุ่น พบว่าไม่มีความสัมพันธ์ต่อการสื่อสารเพศในครอบครัว (r = - 0.005, 0.011 และ 0.109) อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ p < 0.001 แต่เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านการเลี้ยงดู การเฝ้าสังเกต และด้านความใกล้ชิดกับการสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว พบว่า ปัจจัยด้านการเลี้ยงดู การเฝ้าสังเกต และด้านความใกล้ชิด พบว่า มีความสัมพันธ์ต่อการสื่อสารเพศในครอบครัว (r = 0.212, 0.238 และ 0.197) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 และผลการสัมภาษณ์จากแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ตามประเด็นของการให้คำปรึกษาแนะนำและพูดคุยเรื่องเพศระหว่างนักเรียนกับผู้ปกครอง คือ ประเด็นในเรื่องเกี่ยวกับการคุมกำเนิด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการวางตัวเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ปัจจัยปัจจัยด้านการเลี้ยงดู การเฝ้าสังเกต และด้านความใกล้ชิด มีความสำคัญที่การสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว ดังนั้นบุคลากรทางด้านสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรตระหนักและให้ความสำคัญกับปัจจัยดังกล่าว เพื่อวางแผนที่มีประสิทธิภาพในส่งเสริมและสนับสนุนการสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัวที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อลดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมของนักเรียนen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.docxAbstract (words)178.98 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 328.29 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.