Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39950
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProf. Emeritus Dr. Anurak Panyanuwat-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Ruetinan Samuttai-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Acharaporn Sripusanapan-
dc.contributor.authorRungkarn Wuttien_US
dc.date.accessioned2017-08-24T04:39:40Z-
dc.date.available2017-08-24T04:39:40Z-
dc.date.issued2014-11-17-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39950-
dc.description.abstractThe purposes of this research study were to 1) study contexts of the instructional competency development for novice nursing instructors of nursing colleges under Praboromarajchanok Institute 2) develop and quality of a model for instructional competency development for novice nursing instructors of nursing colleges under Praboromarajchanok Institute 3) study a result of using a model for instructional competency development for novice nursing instructors of nursing colleges under Praboromarajchanok Institute. The population were novice instructors of nursing colleges under Praboromarajchanok Institute in Northern area of Thailand working in the first 3 years, directors and others involved in the development of novice instructors. The samples of the study were included 59 directors and others involved in the development of novice instructors and novice instructors. Data collections were literature review, interviews, focus groups and assessed by using a semi-structured interview questionnaires and recording forms. The data were analyzed with content analysis, mean and standard deviation percentage and test statistics with the Friedman Two-way ANOVA, and Wilcox on Singed-Ranks Test The results of the study were 1) The instructional competency development of novice instructors also did not meet the expectation of novice instructors and stakeholders expectations, the models for instructional competency development for novice nursing instructors were not as effective as they could be, and they needed to be a form of reflective teaching model to the instructional competency development of novice instructors 2) A model for instructional competency development for novice nursing instructors consists of 4 elements were included the principles and objectives, arrangements, development process, and evaluation. The quality of this model found that the overall quality was highest level. 3) The effectiveness of the model were as follows: a) the instructional competencies average scores of novice nursing instructors were assessed by self-assessment mentors and students higher than before development b) result of satisfied evaluation of the usage of the model was at the highest scores. c) regarding result of students learning outcomes found the second group average scores higher than the first group and the both groups passed standard scores.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectNursing -- Study and teachingen_US
dc.titleInstructional Management Competency Development of Novice Instructors in College of Nursing Under the Praboromarajchanok Instituteen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใหม่ในวิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนกen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc610.73-
thailis.controlvocab.meshNursing -- Study and teaching-
thailis.manuscript.callnumberTh 610.73 R942I-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยและพัฒนาหารูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใหม่ในวิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก 2) สร้างและหาคุณภาพของรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใหม่ในวิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก 3) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใหม่ในวิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ประชากรมี 4 กลุ่มคืออาจารย์ใหม่ที่ปฏิบัติงานช่วง 3 ปีแรก ในวิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนกเขตภาคเหนือตอนบน ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบการพัฒนาบุคลากร และผู้ที่มีประสบการณ์เป็นอาจารย์พี่เลี้ยงอาจารย์ใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 59 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาเอกสาร สัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบประเมิน แบบสอบถาม และแบบบันทึก วิเคราะห์ข้อมูลโดย วิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และสถิติทดสอบ ได้แก่ Friedman Two-way ANOVA และ Wilcox on Singed-Ranks Test ผลการศึกษา พบว่า 1) สมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใหม่ยังไม่เป็นไปตามที่อาจารย์ใหม่และผู้เกี่ยวข้องคาดหวัง รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใหม่ที่มีอยู่ยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร และมีความต้องการให้ใช้รูปแบบการสอนแบบสะท้อนคิดเพื่อการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใหม่ 2) รูปแบบการพัฒนา สมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใหม่ในวิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบได้แก่ หลักการและวัตถุประสงค์ การเตรียมการ กระบวนการพัฒนา และการประเมินผล ผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบพบว่า รูปแบบมีคุณภาพด้านความเป็นไปได้ ความเหมาะสม ความถูกต้องแม่นยำ และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด และ 3) ประสิทธิผลของรูปแบบที่พิจารณาจากคะแนนสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ใหม่ที่ประเมินโดยตนเอง อาจารย์พี่เลี้ยง และนักศึกษา พบว่า คะแนนเฉลี่ยสมรรถนะหลังการพัฒนาทุกด้านสูงกว่าก่อนการพัฒนา ทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด อาจารย์ใหม่มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกระบวนการพัฒนาในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา พบว่า นักศึกษากลุ่มที่สอนโดยอาจารย์ใหม่ครั้งที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่านักศึกษากลุ่มที่สอนโดยอาจารย์ใหม่ครั้งที่ 2 และทั้งสองกลุ่มมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด จึงสรุปได้ว่ารูปแบบนี้ช่วยให้อาจารย์ใหม่มีสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนและนักศึกษามีผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ดีขึ้นen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.