Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล-
dc.contributor.authorมัฆวาน ภูมิเจริญen_US
dc.date.accessioned2017-08-24T04:35:21Z-
dc.date.available2017-08-24T04:35:21Z-
dc.date.issued2558-04-22-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39947-
dc.description.abstractThis study aims to examine the images of Lanna women in contemporary Lanna songs during 1993 to 2013, which are sung by six female singers. They include: 1. Nipaporn Pangouan ( Kratae R Siam), 2. Thunyaporn Uttathamchai (Kamla Thunyaporn), 3. Daranee Akareun (Too Daranee), 4. Lanna Commin, 5. Teeraporn Srikitrat (Aom Maimeung), and 6. Maneerat Rettanung (Aom Rattanung). The results revealed that the songs were selected with the numbers of 72 songs. The outstanding images found in 20 songs were Lanna female women, who love , have pride of their own communities, honor value, culture, and Lanna tradition. There were 19 songs reflected the images of women with binding love. The song reflected the female images as the decisive females being on themselves showed in 7 songs. The images of being responsible for their families are found in 4 songs. The last image of females with a sense of moral and ethics showed in 3 songs. Most of the songs had more content reflected on mood or needs in imagination than the realistic of society. Some songs is the discourse in persuading the listeners to love and be proud of community, honor culture, and attract the other people in different places for the benefits of tourism. Some songs are the emotional response to the music, especially some emotion which could not show in the real world such as love confessions, lament or even the fierce emotion such as curses, abuse with rude words. The overall content of the songs repeated the traditional female images knowing in the society as being sweet with beautiful words. However, the content also create the new images such as assertiveness in the public places through opened thoughts and feelings. In case of the dynamic of Lanna females, it revealed that this study shows the change of Lanna female images which differs from the previous time. In the past, they are viewed as not being desired images, while the ideal images are desired like having thoughts, being respectful, having love and pride on the local culture. However, the limitations are only Lanna songs so that it could not conclude that these are all the images of the females in this period of time.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการวิเคราะห์เพลงen_US
dc.titleภาพลักษณ์ผู้หญิงล้านนาในบทเพลงคำเมืองร่วมสมัย ในช่วง พ.ศ. ๒๕๓๖- ๒๕๕๖en_US
dc.title.alternativeImages of Lanna Women in Contemporary Lanna Songs Between 1993-2013en_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc781.62-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์เพลง -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashเพลงพื้นเมือง -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashเพลง -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashสตรี -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 781.62 ม111ภ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้คือศึกษาถึงภาพลักษณ์ผู้หญิงล้านนาในบทเพลงคำเมืองร่วมสมัย ในช่วงเวลา พ.ศ. ๒๕๓๖ ถึง พ.ศ.๒๕๕๖ โดยเป็นบทเพลงที่ขับร้องโดยนักร้องหญิง ๖ คนได้แก่ ๑. นิภาพร แปงอ้วน (กระแต อาร์สยาม) ๒. ธัยญพร อุตธรรมชัย (คำหล้า ธัญยพร) ๓. ดารณี อะกะเรือน (ตู่ ดารณี) ๔. ลานนา คัมมินส์ ๕. ธีราพร ศรีกิจรัตน์ (อ้อม ไม้เมือง) ๖. มณีรัตน์ รัตนัง (อ้อม รัตนัง) ผลการศึกษาพบว่า จากจำนวนทั้งหมด ๗๒ บทเพลงที่ศึกษา ภาพลักษณ์ที่ปรากฎเด่นชัดในบทเพลง คือ ภาพลักษณ์ผู้หญิงล้านนาที่รักและภูมิใจในท้องถิ่น เชิดชูคุณค่า วัฒนธรรม ประเพณีล้านนา มีจำนวน ๒๐ บทเพลง กลุ่มบทเพลงที่สะท้อนภาพลักษณ์ผู้หญิงที่ ลุ่มหลงในความรัก มี ๑๙ บทเพลง กลุ่มบทเพลงที่สะท้อนภาพลักษณ์ผู้หญิงที่ กล้าแสดงออก ตรงไปตรงมา มี ๑๙ บทเพลง กลุ่มบทเพลงที่สะท้อนภาพลักษณ์ผู้หญิงที่ เด็ดขาด เป็นตัวของตัวเอง มี ๗ บทเพลง กลุ่มบทเพลงที่สะท้อนภาพลักษณ์ผู้หญิงเข้มแข็ง รับผิดชอบครอบครัว มี ๔ บทเพลง กลุ่มบทเพลงที่สะท้อนภาพลักษณ์ผู้หญิงที่มีสำนึกทางศีลธรรม จริยธรรม มี ๓ บทเพลง บทเพลงส่วนใหญ่มีเนื้อหาเพื่อตอบสนองอารมณ์ หรือความต้องการใน จินตนาการ มากกว่าจะสะท้อนภาพความจริงของสังคม ส่วนหนึ่งเป็นวาทกรรม ที่โน้มน้าวให้ผู้ฟัง มีความรักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น เชิดชูวัฒนธรรม และดึงดูดความสนใจของคนต่างถิ่น เพื่อประโยชน์เรื่องการท่องเที่ยว อีกส่วนหนึ่งเป็นเพลงที่สนองตอบอารมณ์ ความรู้สึกในจินตนาการโดยเฉพาะอารมณ์ที่ ไม่สามารถแสดงออกได้ในโลกความเป็นจริง เช่น การสารภาพรัก การเพ้อพร่ำ รำพัน หรือแม้แต่อารมณ์รุนแรง เช่นการด่าทอ การปรามาสด้วยถ้อยคำรุนแรง เนื้อหาโดยรวมของบทเพลง เป็นการผลิตซ้ำในเรื่องภาพลักษณ์เดิมของผู้หญิงล้านนาที่เป็นที่รับรู้โดยทั่วไปในสังคม คือเป็นคนอ่อนหวาน พูดเพราะ ในขณะเดียวกันก็มีการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ เช่นการกล้าแสดงออกในพื้นที่สาธารณะในเรื่องการบอกเล่าความคิดความรู้สึกอย่างตรงไปตรงมา หากจะมองในแง่ความมีพลวัตของภาพลักษณ์ผู้หญิงล้านนา พบว่าผลการศึกษานี้แสดงถึงความเปลี่ยนแปลงของภาพลักษณ์ผู้หญิงล้านนาที่ต่างไปจากเดิม ก่อนหน้านี้ผู้หญิงล้านนาถูกมองไปในภาพที่ไม่พึงประสงค์ต่อมามีผลงานวรรณกรรมยุคใหม่ แสดงถึงภาพที่พึงประสงค์มากขึ้น คือมีความคิด ความน่ายกย่อง รักและภูมิใจในวัฒนธรรมที่เป็นรากเหง้า ด้วยเหตุว่าจำนวนข้อมูลที่ศึกษาจะจำกัดอยู่เฉพาะบทเพลงของนักร้องล้านนาเท่านั้น จึงยังไม่อาจสรุปได้ว่า ผลการศึกษานี้เป็นภาพลักษณ์ในความเป็นจริงของผู้หญิงล้านนาในยุคปัจจุบันen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf7.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.