Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorLect. Dr. Chukiat Chaiboonsri-
dc.contributor.advisorAssoc.Prof. Dr. Prasert Chaitip-
dc.contributor.authorChanchamroeun Kuochen_US
dc.date.accessioned2017-08-23T04:59:52Z-
dc.date.available2017-08-23T04:59:52Z-
dc.date.issued2014-12-29-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39921-
dc.description.abstractIn this paper, the author explores the relationship of electricity consumption, export, and economic growth of eight ASEAN countries over the period 1995-2011 by using the panel ARDL approach. To date, there are no other studies that explore estimations between economic growth and determinant factors. This will be the first paper to produce the estimation among economic growth, electricity consumption, and export by employing PMG and MG estimators. In this research there are four steps of methodology. First the panel unit root tests are used to test the stationary of those variables. Second, the author used Pool Mean group (PMG) estimator and Mean Group (MG) estimator to estimate the short and long run relation among those variables. Then, Hausman test is used to choose the best estimator between PMG and MG. Last but not least, Fully Modified Ordinary Least Square (FMOLS) which proposed by Pedroni (2000) in this paper that estimate the coefficient of each panel group. The macroeconomic variables are lnGDP, lnEC, lnEX, lnK, and lnL. The author proposes to use some methods to test the unit root namely LLC (2002), Im, Pearan and Shin (2003), and Maddala and Wu (1999). There are two steps of using the method in this research; first, Pesaran (1999) introduced the Hausman test to test the hypothesis of inconsistency of an estimator. After using the Hausman test, the results show that there is a long run relation between economic growth and determinant factors by using PMG. Additionally, in the short run export and labor have a positive relation to economic growth; export and electricity consumption will lead economic growth in ASEAN. Furthermore, the author also used the Fully Modified Ordinary Least Square (FMOLS) method to test the cointegration of those panel data. The empirical result shows that electricity consumption, export, and capital are significance so that the increase of electricity consumption, export, and capital can improve the economic growth in ASEAN. This paper will be useful for governments and other researchers to explore further about energy and export policy. There are a long run relation among electricity consumption, export, and capital in ASEAN so that electricity consumption, export, and capital are the important engine to improve the economic growth in ASEAN. Government should have appropriate policy to invest in electricity production and improve export in order to improve the economic growth in this region. Furthermore, government should create friendly environment for FDI in order to attract more capital to this region.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectInternational economic relationsen_US
dc.titleThe Relationship of Electricity Consumption, Export, and Economic Growth in ASEANen_US
dc.title.alternativeความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคไฟฟ้า การส่งออกและการเจริญเติบโตของประเทศในอาเซียนen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc337-
thailis.controlvocab.lcshInternational economic relations-
thailis.manuscript.callnumberTh 337 C454R-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในบทความนี้ผู้ศึกษาได้ทำการสำรวจความสัมพันธ์ของปริมาณการใช้ไฟฟ้า การส่งออก และการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มอาเซียน 8 ประเทศ ในช่วงปี 1995-2011 โดยใช้วิธีการแบบ Auto-Regressive Distributed Lag (ARDL) ในวันนี้ยังไม่มีงานวิจัยอื่นที่ได้ทำการสำรวจการประมาณระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า และปัจจัยเฉพาะ งานวิจัยนี้จะเป็นงานวิจัยชิ้นแรกที่จะได้นำเสนอการประมาณค่าระหว่างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า และการส่งออกโดยวิธีการประเมินค่าแบบ PMG และ การประเมินค่าแบบ MG ในงานวิจัยชิ้นนี้มีวิธีการศึกษาทั้งหมด 4 วิธี โดนวิธีแรกได้ใช้การทดสอบแบบพาแนลยูนิตรูท (panel unit root test) ใช้การทดสอบในกลุ่มตัวแปรที่หยุดนิ่งแล้ว วิธีที่สองผู้เขียนได้ใช้วิธีการประเมินค่า PMG และการประเมินค่าแบบ MG เพื่อประเมินความสัมพันธ์ตัวแปรในช่วงระยะสั้นกับตัวแปรในระยะยาว จากนั้นใช้วิธีการทดสอบแบบ Hausman คือเลือกค่าที่ดีที่สุดที่มาจากการประเมินค่าระหว่าง PMG และ MG และวิธีการสุดท้ายแต่ไม่ท้ายสุด คือการประเมินค่าแบบจำลองด้วยวิธี Full Modified Ordinary Least Square (FMOLS) ซึ่งนำเสนอโดย Pedroni(2002) ในงานวิจัยชิ้นนี้ได้นำเสนอการประเมินค่าสัมประสิทธ์ของพาแนลแต่ละกลุ่ม ตัวแปนทางเศรษฐกิจมหาภาคที่มี lnGDP, lnEC, InK, และlnL ซึ่งผู้เขียนจะได้เสนอวิธีการบางอย่างเพื่อทดสอบ unit root ในชื่อของ LLL (2002), Im, Pearan และ Shin(2003) และMaddala และ Wu(1999) มีสองขั้นตอนในการใช้วิธีการวิจัยครั้งนี้ คือ วิธีของ Pesaran(1999) ได้นำเสนอการทดสอบของ Hausman เพื่อทดสอบสมมติฐานของความไม่สอดคล้องกันของการประมาณการ หลังจากที่ใช้การทดสอบของ Hausman ผลจากการทดสอบแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์ระยะยาวระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจ และปัจจัยชี้เฉพาะ โดยการใช้ PMG นอกจากนี้ในระยะสั้นการส่งออกและแรงงานมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นการส่งออก และการใช้ปริมาณไฟฟ้าที่มากขึ้นซึ่งจะนำไปสู้การเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียน และนอกจากนี้ผู้เขียนยังได้ใช้วิธีการ Full Modified Ordinary Least Square (FMOLS) เพื่อทดสอบการรวมตัวกันของข้อมูลพาแนลเหล่านั้น ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าการใช้ไฟฟ้า การส่งออก และเงินทุนที่มีความสำคัญเพื่อให้การเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้ไฟฟ้า การส่งออก และเงินทุนสามารถปรับปรุงการเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียนได้ ค่าสัมประสิทธ์ของ lnEC, lnEX และ LNK เป็น 0.34, 0.18 และ 0.15 ตามลำดับ งานวิจัยชิ้นนี้อาจจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยสำหรับรัฐบาลและนักวิจัยท่านอื่น ที่มีความสนใจในการสำรวจเพิ่มเติมเกี่ยวกับนโยบายทางด้านพลังงาน และ การส่งออก ซึ่งมีความสัมพันธ์ระยะยาวท่ามกลางปริมาณการใช้ไฟฟ้า การส่งออก และเงินทุนในเขตภูมิภาคอาเซียนนี้เพื่อให้ปริมาณการใช้ไฟฟ้า การส่งออก และเงินทุนเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการปรับปรุงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในอาเซียน และรัฐบาลควรมีนโยบายที่เหมาะสมในการลงทุนในการผลิตไฟฟ้าและการปรับปรุงการส่งออกเพื่อเตรียมพร้อง และรองรับมือกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้ นอกจากนี้รัฐบาลควรสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีและเป็นมิตรสำหรับการลงทุนโดยตรงในการที่จะดึงดูดเงินทุนในภูมิภาคนี้en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.