Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39865
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ | - |
dc.contributor.author | พาฝัน ประดาอินทร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-12T16:15:25Z | - |
dc.date.available | 2016-12-12T16:15:25Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39865 | - |
dc.description.abstract | The study management of important pagoda in Lampang Province, the cultural tourism and learning route aims to study the pagoda known as “Phra That” by Lanna people. Numbers of pagodas are located in Lampang province. These places are enshrined with sacred Buddha’s relics. The pagodas are architecturally beautiful. They link to the history of Lampang province. Furthermore, they are important to pilgrimage and worshipping performed by local people and tourists. The objectives of this study include: 1) Examine the context of background, architectural form, tradition and ritual of important pagodas in Lampang province 2) Examine value, importance and belief of importance pagodas as well as routes and relevant communities 3) Suggest the guideline in managing cultural tourism and learning route 4) Learn the history and pilgrimage of Lampang’s important pagodas by examining information about historical context, tradition, ritual and architectural form as well as value, importance and belief of important pagodas among different communities in 3 districts, including Maung district, Kokha district and Hangchat district, Lampang province. The information was collected from documents, survey, interview and non-participatory observation. General information was collected from sample population, for example, monks, community leaders, and people related to the communities. Then the information was analyzed and concluded. The result contained 9 places prioritized by sample population from 3 districts, 40 persons from each, totally 120 persons. The researcher applied 5 criterions for considering cultural resource value determined by International Council on Monuments and Sites (ICOMOS) combined with 5 criterions of historical and social context and culture related to local pagodas as follows. 1) Historical criteria 2) Cultural criteria 3) Artistic criteria 4) Learning readiness criteria 5) Criteria of belief and favor of local people. In addition, value and importance of Lampang’s pagodas were analyzed as appropriate for learning and cultural tourism of Lampang province. It appeared that each pagoda had its own importance and distinctive point. Therefore, they were organized for learning route and cultural tourism. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | พระธาตุ | en_US |
dc.subject | เส้นทางการเรียนรู้ | en_US |
dc.subject | ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | en_US |
dc.title | การศึกษาพระธาตุสำคัญในจังหวัดลำปาง เพื่อการจัดการเส้นทางการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | en_US |
dc.title.alternative | The Study management of important pagoda in Lampang Province the cultural tourism and learning route | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 294.3421 | - |
thailis.controlvocab.thash | พระธาตุ -- ลำปาง | - |
thailis.controlvocab.thash | วัฒนธรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว | - |
thailis.controlvocab.thash | ลำปาง -- ความเป็นอยู่และประเพณี | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 294.3421 พ2511ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาพระธาตุสำคัญของจังหวัดลำปาง เพื่อการจัดการเส้นทางการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็นการศึกษาเจดีย์ซึ่งชาวล้านนาเรียกว่า “พระธาตุ” ซึ่งปรากฏเป็นจำนวนมากในจังหวัดลำปาง เป็นสถานที่ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีความศักดิ์สิทธิ์และองค์พระธาตุมีความงามทางด้านสถาปัตยกรรม โดยเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของจังหวัดลำปาง และยังมีความสำคัญต่อการแสวงบุญ การสักการะบูชาของประชาชนในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาบริบทเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา รูปแบบสถาปัตยกรรม ประเพณีและพิธีกรรม ของพระธาตุองค์สำคัญในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาคุณค่าความสำคัญ และคติความเชื่อของพระธาตุสำคัญ ตลอดจนเส้นทางและชุมชนที่เกี่ยวข้อง 3) เพื่อเสนอแนวทางการจัดการเส้นทางการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4) เพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และการแสวงบุญพระธาตุสำคัญของจังหวัดลำปาง โดยศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับบริบททางประวัติศาสตร์ ประเพณีพิธีกรรม และรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ตลอดจนคุณค่าความสำคัญ และคติความเชื่อของพระธาตุสำคัญ ของชุมชนต่างๆ 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอเกาะคา และอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง ทั้งข้อมูลเอกสาร การสำรวจ การสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนรวม จากนั้นสำรวจข้อมูลทั่วไปจากกลุ่มประชากรตัวอย่าง อาทิ พระสงฆ์ ผู้นำชุมชนและประชาชนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชน แล้วนำมาวิเคราะห์สรุปผล จากนั้นนำข้อมูลพระธาตุ 22 แห่ง 3 อำเภอ มาคัดเลือกหาพระธาตุสำคัญของจังหวัดลำปาง ได้ผลลัพธ์คือ 9 แห่ง ซึ่งมาจากการให้ความสำคัญของกลุ่มประชากรตัวอย่างทั้งจาก 3 อำเภอ อำเภอละ 40 คน รวมทั้งสิ้น 120 คน โดยผู้ศึกษานำเกณฑ์คัดเลือก 5 เกณฑ์ จากเกณฑ์การพิจารณาคุณค่าของทรัพยากรวัฒนธรรม ที่กำหนดโดยองค์กรสากลด้านการศึกษาและการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม (ICOMOS) ร่วมกับบริบททางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับพระธาตุในท้องถิ่น จำนวน 5 เกณฑ์ ดังนี้ 1) เกณฑ์ด้านประวัติศาสตร์ 2) เกณฑ์ด้านวัฒนธรรม 3) เกณฑ์ด้านศิลปกรรม 4) เกณฑ์ด้านความพร้อมของการเรียนรู้ 5) เกณฑ์ด้านความเชื่อและความนิยมของประชาชนในท้องถิ่น พร้อมทั้งวิเคราะห์คุณค่าและความสำคัญของพระธาตุในจังหวัดลำปาง เพื่อให้เหมาะสมต่อการเรียนรู้และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดลำปาง และปรากฏว่าแต่ละพระธาตุมีเกณฑ์ที่มีความสำคัญและเป็นจุดเด่นที่แตกต่างกันไป จึงนำมาเพื่อจัดทำเป็นเส้นทางการเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Humanities and Social Sciences: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 165.61 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 616.11 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 271.96 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 637.46 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 344.66 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 2.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 6.pdf | CHAPTER 6 | 214.6 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 312.77 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 547.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 356.61 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.