Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39814
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล | - |
dc.contributor.author | พระมหาวีระพล ไฝ่แจ้คำมูล | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-12T14:02:19Z | - |
dc.date.available | 2016-12-12T14:02:19Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39814 | - |
dc.description.abstract | This thesis had the objective of studying the existence and the meanings of elephants in Lanna folklore. As many as 107 Lanna folktales relating to elephants were selected from various printed materials. The tales were classified into three groups: 24 Jataka tales, 8 animal tales and 75 specific local or indigenous tales. In addition, the elephants appearing in those tales were classified according to their outstanding features: supernatural looking and those distinctively different from other elephants in general. There were elephants used in wars and elephants believed to be the lineage of the Bodhisattva. The study was based mainly on the concepts of functionalism and symbolism. It was discovered that elephants in Lanna folktales appeared in two categories: major characters and minor characters. Some had a supernatural birth. In terms of their relationship with their human counterparts, many of the elephants in Lanna folktales were treated as family members and were related to the human settlements. These elephants were found to have both positive and negative behavior. The study reflected the meaning of the elephants in light of the beliefs related to elephants and humans way of living involving their being a sacred and auspicious creature, their power to enhance the status of man, dreams related to elephants and their being used as a tool to instill morality and their role in providing assistance to humans. In another dimension, elephants were considered a symbol of religious support, and a power zone indicator as well as a means for professional conduct. In the Lanna social context at present, elephants remain influential to people’s thinking as they generally appear gigantic and powerful while being charming creatures that signify auspiciousness. As a result, elephants have been used, and continue to play a great role in various dimensions of human society. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ช้าง | en_US |
dc.subject | นิทานพื้นบ้านล้านนา | en_US |
dc.title | ช้างในนิทานพื้นบ้านล้านนา | en_US |
dc.title.alternative | Elephants in Lanna folktale | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 398.2095936 | - |
thailis.controlvocab.thash | นิทานพื้นเมือง -- ไทย (ภาคเหนือ) | - |
thailis.controlvocab.thash | นิทานพื้นเมืองไทย | - |
thailis.controlvocab.thash | สัตว์ในวรรณกรรม | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 398.2095936 พ17116ช | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรากฏและความหมายของช้างในนิทานพื้นบ้านล้านนา โดยเลือกและรวบรวมเรื่องช้างในนิทานพื้นบ้านล้านนาจากเอกสารสิ่งพิมพ์ จำนวน ๑๐๗ เรื่อง โดยจำแนกกลุ่มนิทานออกเป็น ๓ กลุ่ม คือ นิทานชาดกจำนวน ๒๔ เรื่อง นิทานสัตว์จำนวน ๘ เรื่อง และนิทานประจำถิ่นจำนวน ๗๕ เรื่อง นอกจากนั้นยังได้แบ่งกลุ่มตามลักษณะพิเศษของช้างในนิทานพื้นบ้านล้านนา ได้แก่ ช้างที่มีรูปร่างพิเศษเหนือธรรมชาติ และมีความพิเศษที่แตกต่างจากช้างธรรมดาทั่วไป นอกจากนี้ช้างยังถูกใช้เป็นพาหนะในการทำสงคราม และยังเป็นหน่อพระโพธิสัตว์โดยอาศัยแนวคิดบทบาทหน้าที่นิยมและสัญลักษณ์นิยมเป็นแนวทางในการศึกษา จากการศึกษาพบว่า รูปแบบการปรากฎของช้างในนิทานพื้นบ้านล้านนา ได้แก่ การปรากฎบทบาท ๒ ลักษณะ คือ ตัวละครหลัก และตัวละครประกอบในนิทาน อีกทั้งยังปรากฎรูปแบบช้างในลักษณะกำเนิดที่เหนือธรรมชาติ และยังปรากฎความสัมพันธ์ของคนกับช้างในนิทานพื้นบ้านล้านนาที่แสดงให้เห็นถึงคนกับช้างเป็นเสมือนสมาชิกครอบครัวเดียวกันและสัมพันธ์กับการตั้งถิ่นฐานของคน นอกจากนี้ยังปรากฎพฤติกรรมของช้างในนิทานที่พบว่า ช้างมีทั้งพฤติกรรมด้านบวกและพฤติกรรมด้านลบ นอกจากนี้ยังสะท้อนให้เห็นถึงความหมายของช้างในนิทาน บอกถึงคติความเชื่อเกี่ยวกับช้างในวิถีชีวิตของคนซึ่งมีทั้งคติความศักดิ์สิทธิ์ ความเป็นมงคล การเสริมสถานภาพคนและคติความฝัน อีกทั้งช้างยังมีความสำคัญต่อการใช้เป็นเครื่องมืออบรมศีลธรรมและการเป็นผู้ที่คอยช่วยเหลือคน ในส่วนภูมินาม ช้างหมายถึงการค้ำชูศาสนา การแสดงขอบเขตอำนาจและแสดงให้เห็นถึงการประกอบอาชีพของคน ส่วนในบริบททางสังคมล้านนาาปัจจุบัน ช้างยังคงมีอิทธิพลต่อความคิดของคน เนื่องจากช้างเป็นสัตว์ที่ยิ่งใหญ่ มีพลัง มีเสน่ห์และเป็นมงคล การหยิกยกเอาช้างมาใช้ในมิติต่างๆ จึงยังคงมีอยู่คู่กับสังคมของคน | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 216.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 168.5 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 385.5 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 344.5 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 795.87 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 2.1 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 242.69 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 194.64 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 619.15 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 305.24 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.