Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39783
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เฉลิมพงษ์ ชิตไทสง | - |
dc.contributor.author | จันทรกานต์ โกศัยกานนท์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-12T12:45:57Z | - |
dc.date.available | 2016-12-12T12:45:57Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39783 | - |
dc.description.abstract | This descriptive study was aimed to find out the prevalence and relationship between ergonomic factors and low back pain among longan farmers in Thakhumnguen Subdistrict Mae- Tha District of Lamphun province. The samples were 334 longan farmers. They were interviewed based on the structured questionnaire developed by the researcher. The data was collected from June 2013 to November 2013 and analyzed by descriptive statistics. The relationship between ergonomic factors and low back pain was analyzed by Fisher’s Exact Test. The ergonomic factors that related statistically to low back pain in longan farmers were found 2 factors. One was the relaxing time during choosing longan process by sitting (P-value=0.046). The farmers sit continuously to choose longan size 2 hours and 4 hours. The percentage of low back pain was 77.8 and 93.3 respectively. In the farmers who had unusual relaxing time, it was found that everyone had low back pain. The number of longan trees in spread out process per day (P-value=0.034). The farmers used hoe to spread out soil amount 1-50 longan trees. The percentage of low back pain was 83.0. The study indicated that the relaxing time during day related with low back pain of longan farmers. Particular of choosing longan process by sitting, the farmers was in the position sitting all day. Because of longan-sale is the most important income for the farmers. Moreover, it was also found that the processes in harvest had high percentage of low back pain. This point should be researched continuously and collected data in the harvesting period. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การยศาสตร์ | en_US |
dc.subject | ปวดหลังส่วนล่าง | en_US |
dc.subject | เกษตรกร | en_US |
dc.title | ความชุกและความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการยศาสตร์กับอาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรสวนลำไย ตำบลทาขุมเงิน อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | The Prevalence and relationship between Ergonomic factors and low back pain among longan-farmers in Thakhumnguen Subdistrict, Mae Tha District, Lamphun Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 620.82 | - |
thailis.controlvocab.thash | เออร์โกโนมิกส์ | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรกร -- แม่ทา (ลำพูน) | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรกร -- สุขภาพ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 620.82 จ115ค | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกและความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการยศาสตร์กับอาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรสวนลำไยที่มีอายุระหว่าง 31 - 65 ปี ซึ่งประกอบอาชีพทำสวนลำไยในตำบลทาขุมเงิน อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน จำนวน 334 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลครั้งนี้ คือ แบบสัมภาษณ์ที่พัฒนามาจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2556 ถึง เดือนพฤศจิกายน 2556 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและใช้สถิติทดสอบฟิชเชอร์ (Fisher’s Exact)ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการสัมผัสปัจจัยด้าน การยศาสตร์กับอาการปวดหลังส่วนล่าง ผลการศึกษา พบว่า ความชุกของอาการปวดหลังส่วนล่างในรอบ 1 ปีที่ผ่านมาของเกษตรกรสวนลำไย คิดเป็นร้อยละ 50.90 ส่วนปัจจัยด้านการยศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับอาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรสวนลำไยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พบว่ามี 2 ปัจจัย คือ ระยะเวลาในการพักต่อครั้งของขั้นตอนการนั่งคัดลำไย (P-value = 0.046) โดยเกษตรสวนลำไยที่นั่งคัดลำไยต่อเนื่องกัน 2 ชั่วโมง และ 4 ชั่วโมง แล้วพัก มีร้อยละของอาการปวดหลังส่วนล่าง เท่ากับ 77.8 และ 93.3 ตามลำดับ และจำนวนต้นลำไยที่ใช้จอบเกลี่ยดินใน 1 วัน (P-value = 0.034) เกษตรกรสวนลำไยใช้จอบเกลี่ยดินใต้ต้นลำไยต่อวันได้ในจำนวน 1 - 50 ต้น มีร้อยละของอาการปวดหลังส่วนล่าง เท่ากับ 83.0 การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า ระยะเวลาในการพักระหว่างวันของการทำสวนลำไยมีความสัมพันธ์กับอาการปวดหลังส่วนล่างของเกษตรกรสวนลำไย โดยเฉพาะในขั้นตอนของการนั่งคัดลำไยที่เกษตรกรอยู่ในอิริยาบถท่านั่งต่อเนื่องกันเป็นเวลานานตลอดทั้งวัน เนื่องจากการจำหน่ายลำไยเป็นรายได้หลัก ของเกษตรกร นอกจากนี้ยังพบว่า ขั้นตอนการทำสวนลำไยที่อยู่ในช่วงฤดูกาลเก็บผลไยมีร้อยละของอาการปวดหลังส่วนล่างสูง ดังนั้น จึงควรศึกษาต่อในประเด็นนี้และเก็บข้อมูลในฤดูกาลเก็บผลลำไยต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 252.55 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 731.52 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 324.28 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 387.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 317.63 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 616.47 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 334.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 198.11 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 665.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 461.13 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.