Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39690
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุรินทร์ ธราวิจิตรกุล-
dc.contributor.authorเขมินทรา อุปกุลen_US
dc.date.accessioned2016-12-08T03:05:35Z-
dc.date.available2016-12-08T03:05:35Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39690-
dc.description.abstractThis independent study is the study about relationship between natural light phenomenon and northern vernacular architecture. This study attempts to point out the importance of the pattern of bamboo wall as well as the light which passes through the bamboo wall into the house. In addition, the light cannot only reflect the traditional wisdom , but also the aesthetic and the significance of natural light. Moreover, they also represent the relationship between human and nature. The purpose of this study is to 1. study the local house’s pattern of bamboo wall and its light which pass through the local house. 2. study and analyze the relationship between the light which passes through the pattern of bamboo wall and perception of the interior space as well as the natural light with the changing time 3. find the means in evaluating worth , recognizing the light found in the local house and how it can turn into the application of designing natural light in architecture in order to harmonize the social context nowadays by the case study of Arka vernacular architecture Chiang Rai District. This qualitative research is the study about theoretical concept in terms of light phenomenon in architecture as well as the study about the concept of natural light in architecture. The procedures are firstly analyzing the data in order to find factors which affect the natural light in the vernacular house. Secondly, experimenting the design in order to find its quality, recognizing the light found in the vernacular house and how it can turn into the application of designing natural light in architecture in order to harmonize the social context nowadays. This study is found that the patterns of the bamboo wall effect the quality of natural light found in the local house and the most important factor is the dimness in the internal area which can help to create the light phenomenon in the vernacular house. Furthermore, the natural light influences the relationship between sensation and perception. They also play the significant role in indicating roles, applying the use of space and creating the memory. Experimental design, which is inspired by the essence found from the decoding process in the first part, focuses on both physical and abstract ideas. Additionally, the concept in this kind of design might be the alternative guideline which could apply to the contemporary architecture design.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมิติen_US
dc.subjectแสงen_US
dc.subjectผนังen_US
dc.subjectเรือนen_US
dc.subjectไม้ไผ่en_US
dc.titleมิติแสงจากผนังไม้ไผ่เรือนพื้นถิ่น กรณีศึกษาเรือนพื้นถิ่นอาข่า หมู่บ้านอังหล่อ จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativePhenomenon of natural light formed by the pattern of bamboo wall : the case study of Arka Vernacular Architectureen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc720-
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรม-
thailis.controlvocab.thashเรือนไทย -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashไม้ไผ่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 720 ข563ม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์แสงธรรมชาติกับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นภาคเหนือ ในการศึกษามองเห็นความสำคัญของผนังไม้ไผ่เรือนพื้นถิ่นและลักษณะแสงที่ส่องลอดผ่านผนังไม้ไผ่เข้ามาในพื้นที่ภายในเรือน มิติแสงที่เกิดขึ้นสะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญา คุณค่า ความงาม บทบาทของแสงธรรมชาติที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติได้เป็นอย่างดี โดยวัตถุประสงค์ของการศึกษาคือ 1. ศึกษารูปแบบผนังไม้ไผ่ของเรือนพื้นถิ่นและลักษณะแสงที่ลอดผ่าน 2. ศึกษาและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างมิติแสงที่ลอดผ่านผนังไม้ไผ่กับการรับรู้พื้นที่และแสงธรรมชาติกับการเปลี่ยนแปลงของเวลา 3. หาแนวทางในการถอดคุณค่า การรับรู้ของแสงที่พบในเรือนพื้นถิ่นสู่การประยุกต์ออกแบบแสงธรรมชาติในสถาปัตยกรรมให้เข้ากับบริบทการออกแบบสภาวะปัจจุบัน โดยใช้กรณีศึกษาเรือนพื้นถิ่นอาข่า หมู่บ้านอังหล่อ จังหวัดเชียงราย การศึกษานี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาแนวคิดทฤษฏีด้านปรากฏการณ์แสงในสถาปัตยกรรมควบคู่ไปกับการศึกษาทฤษฏีด้านกายภาพแสงธรรมชาติในสถาปัตยกรรม และในขั้นตอนของการศึกษาจะเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดมิติแสงในเรือนพื้นถิ่น แล้วนำข้อมูลที่ได้ไปทดลองการออกแบบเพื่อหาแนวความคิดในการการถอดคุณค่าการรับรู้ของแสงที่พบในเรือนพื้นถิ่นสู่การประยุกต์ออกแบบแสงธรรมชาติในสถาปัตยกรรมให้เข้ากับบริบทการออกแบบสภาวะปัจจุบัน จากการศึกษาพบว่าปัจจัยทางด้านกายภาพของรูปแบบผนังเรือนส่งผลต่อการเกิดมิติแสงขึ้นภายในเรือนพื้นถิ่น และปัจจัยสำคัญคือความสลัวของพื้นที่ภายในที่เป็นตัวช่วยให้แสงเกิดมิติ ปรากฏขึ้นในเรือนพื้นถิ่นและมิติแสงนั้น คือตัวกลางหนึ่งที่สร้างความสัมพันธ์ต่อสัมผัสและการรับรู้ของมนุษย์ ส่งผลต่อการกำหนดบทบาท หน้าที่ใช้สอยของพื้นที่ สร้างความทรงจำจนกลายเป็นความเคยชินต่อการดำรงอยู่ โดยพึ่งพารูปแบบการเคลื่อนไหวของแสงธรรมชาติภายนอกเป็นตัวกำหนด การศึกษาในส่วนของงานออกแบบเป็นการออกแบบในเชิงทดลองโดยใช้แนวคิดที่ได้จากการทดลองการออกแบบจากปัจจัยทางด้านกายภาพควบคู่ไปกับแนวคิดด้านนามธรรม ดังนั้น ในงานออกแบบมิติแสงในเรือนพื้นถิ่นในเชิงทดลองจึงสามารถเป็นแนวทางศึกษาต่อยอดแนวความคิดหรือนำไปพัฒนาการออกแบบประยุกต์ใช้แสงในสถาปัตยกรรมต่อไปได้en_US
Appears in Collections:ARC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT201.58 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX2.07 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1375.11 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2861.94 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3394.7 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 44.08 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 51.67 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 6.pdfCHAPTER 6266.29 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdf CONTENT216.48 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdf COVER637.95 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE214.03 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.