Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วนารักษ์ ไซพันธ์แก้ว-
dc.contributor.authorณีรวัลย์ ไชยวงค์en_US
dc.date.accessioned2016-07-08T09:16:08Z-
dc.date.available2016-07-08T09:16:08Z-
dc.date.issued2558-06-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39372-
dc.description.abstractSurvey of lichen genera were performed at Chae Son National Park, Lampang Province, to conduct a guidebook on surveying of lichens in generic level. Specimens were collected from April 2011 to October 2012. Two areas were studied; the tourist center and the nature trail of Chae Son waterfall. Specimens were collected and classified into 12 families 16 genera i.e., Arthonia, Cryptothecia, Chrysothrix, Leptogium, Pyxine, Haematomma, Lecanora, Letrouitia, Parmotrema, Dirinaria, Buellia, Porina, Anthracothecium, Pyrenula, Laurera, Trypethelium and four unknowns. Eleven families 15 genera were found in the tourist center area. Whereas 10 families, 12 genera were found at the nature trail of Chae Son waterfall. The study was found that lichens in two areas were similar with similarity index of 8.69. There two areas were connected to each other, resulted in similar environment. Therefore lichens in both areas were similar. Results of the study were used to create teaching materials; a lichen study guidebook and a lichen survey guide at Chae Son National Park, Muang Pan District, Lampang Province. They were used to assemble basic biology learning for Matthayom 6 students at Chaehomwittaya School. The result showed that students were satisfied to learn basic biology lesson by using the lichen guidebooks. The average score from a questionnaire was 3.8 which was interpreted as students were very satisfied to use these teaching materials.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสำรวจสกุลของไลเคน ณ อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeSurvey of Lichens Genera at Chae Son National Park, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractสำรวจสกุลของไลเคน ณ อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง และจัดทำคู่มือสำรวจไลเคนในระดับสกุล โดยทำการเก็บตัวอย่างไลเคนระหว่างเดือนเมษายน 2554 ถึงเดือนตุลาคม 2555 กำหนดพื้นที่ศึกษาเป็นสองบริเวณคือบริเวณศูนย์บริการนักท่องเที่ยว และบริเวณทางเดินศึกษาธรรมชาติน้ำตกแจ้ซ้อน นำตัวอย่างที่เก็บได้มาศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา เพื่อจัดจำแนกและระบุสกุล สามารถจำแนกได้ 12 วงศ์ 16 สกุล สกุลที่พบได้แก่ Arthonia, Cryptothecia, Chrysothrix, Leptogium, Pyxine, Haematomma, Lecanora, Letrouitia, Parmotrema, Dirinaria, Buellia, Porina, Anthracothecium, Pyrenula, Laurera และ Trypethelium และจำแนกสกุลไม่ได้จำนวน 4 ตัวอย่าง บริเวณศูนย์บริการนักท่องเที่ยวพบไลเคนจำนวน 11 วงศ์ 15 สกุล และบริเวณเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติน้ำตกแจ้ซ้อนพบ ไลเคนจำนวน 10 วงศ์ 12 สกุล และจำแนกสกุลไม่ได้จำนวน 4 ตัวอย่าง จากการศึกษาพบว่าไลเคนที่พบทั้งสองบริเวณมีจำนวนวงศ์และจำนวนสกุลที่พบใกล้เคียงกัน มีค่าความคล้ายคลึงเท่ากับ 8.69 ทั้งนี้เนื่องจากทั้งสองบริเวณเป็นพื้นที่เชื่อมต่อกัน ส่งผลให้สภาพแวดล้อมของทั้งสองบริเวณมีความคล้ายคลึงกัน จึงทำให้พบไลเคนส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์และสกุลเดียวกัน การนำผลการศึกษาสกุลของไลเคนมาประยุกต์เพื่อสร้างสื่อการสอน บทปฏิบัติการการเรียนรู้เรื่อง ไลเคน และคู่มือสำรวจไลเคนบริเวณอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง เพื่อประกอบการเรียนรู้รายวิชาชีววิทยาพื้นฐาน สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียน แจ้ห่มวิทยา พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาชีววิทยาพื้นฐาน โดยการใช้บทปฏิบัติการการเรียนรู้เรื่องไลเคนและคู่มือสำรวจไลเคน โดยมีค่าเฉลี่ยระดับคะแนนเท่ากับ 3.8 แปลความหมายได้ว่านักเรียนมีระดับความพึงพอใจมากen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.docxAbstract (words)25.12 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 281.94 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS8.92 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.