Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39334
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. ธิดาวรรณ วิวัฒน์คุณูปการ-
dc.contributor.authorสุทธิดา เกิดช่างen_US
dc.date.accessioned2016-07-05T02:18:32Z-
dc.date.available2016-07-05T02:18:32Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39334-
dc.description.abstractThe purpose of this descriptive study was to study the cultural beliefs parents in deciduous tooth care of preschool children during social change in Nongbua sub-district, Chai Prakarn District, Chiang Mai Province. The data collection was performed by using a qualitative method. An informal and in-depth interview guideline: family level, was conducted during 2 month period from March to April 2014. The samples of this study were 8 families of preschool children’s parents in child care centers of the Ban Pong Health Promotion Hospital, Chai Prakan, Chiang Mai Province. This study also considered the background information, ethnicity, parents and oral health care. The results show that there are significant differences in these cultural beliefs during time passed. There are a number of consequent factors; family types, an advanced education, the different ethnic groups. It is also found that some families cultural beliefs or experiences has inherited from the Forefather. These factors have an effect on the parents' beliefs in the tooth care.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleวัฒนธรรมความเชื่อของผู้ปกครองในการดูแลฟันน้ำนมของเด็กวัยก่อนเรียนท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมในตำบลหนองบัว อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCultural Beliefs of Parents in Deciduous Tooth Care of Preschool Children During Social Changes in Nongbuo Sub-district, Chai Prakarn District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวัฒนธรรมความเชื่อ ของผู้ปกครองในการดูแลฟันน้ำนมของเด็กวัยก่อนเรียน ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคม ตำบลหนองบัว อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ กระบวนการศึกษาครั้งนี้เป็นวิธีการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive design) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative study) ด้วยการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการ ร่วมกับการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เจาะลึกในระดับครอบครัว (In-depth interview guideline: family level) ซึ่งใช้ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลภาคสนามทั้งสิ้น 2 เดือน คือตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึง เมษายน 2557 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ปกครองของเด็กวัยก่อนเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปง อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 8 ครอบครัว โดยพิจารณาจากข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของครอบครัว คือ ชาติพันธุ์ ผู้ปกครอง และสภาวะช่องปาก ผลการศึกษาพบว่า วัฒนธรรมความเชื่อของผู้ปกครองในการดูแลฟันน้ำนมเปลี่ยนแปลงไป ตามการเปลี่ยนแปลงของสังคม ประกอบกับปัจจัยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นลักษณะของครอบครัว การศึกษาที่เข้ามามีบทบาท และทำให้ได้รับความรู้ใหม่ๆ ตามมา กลุ่มชาติพันธ์ที่มีการดูแลฟันน้ำนมของเด็กวัยก่อนเรียนที่มีทั้งความต่างและเหมือนกัน นอกจากนี้ยังพบว่ามีบางครอบครัวที่นำวัฒนธรรมความเชื่อ หรือประสบการณ์ที่เคยได้รับการถ่ายทอดจากคนในครอบครัวมาปฏิบัติใช้เพื่อดูแลฟันน้ำนมของลูกหลาน ซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ล้วนแต่ส่งผลให้ผู้ปกครองมีความคิด ความเชื่อ ในการดูแลฟันน้ำนมเปลี่ยนแปลงไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docAbstract (words)189.5 kBMicrosoft WordView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract237.52 kBAdobe PDFView/Open
full.pdfFull IS3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.