Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39281
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.รสริน โอสถานันต์กุล-
dc.contributor.authorจารุณี นกแก้วen_US
dc.date.accessioned2016-01-04T09:17:59Z-
dc.date.available2016-01-04T09:17:59Z-
dc.date.issued2557-10-10-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39281-
dc.description.abstractThis Independent Study aimed to investigate the revenue structuring of Mae Hia Town Municipality in Chiang Mai Province as well as the behavior and satisfaction of the tax payers of the municipality. Questionnaires were distributed to 350 tax payers: 315 natural persons and 35 corporate persons. The data was analyzed using descriptive statistics and the satisfaction was weighed using the Likert Scale. It was found that Mae Hia Town Municipality had two types of revenue: that which was collected by the municipality, and the other type which was not collected by the municipality. Most of the revenue that was collected by the municipality came from taxes such as building and land tax, local administration tax and billboard or shop sign taxes. The revenue that was not collected by the municipality consisted of allocation tax, general subsidies and subsidy with specified purposes respectively. The sample group from the natural persons consisted of those whose majority were female with an average age of 48 years old, holding a Bachelor’s degree and conducting a private business or employees of private companies. Their average income was 10,001- 30,000 Baht and they had a residence of their own. The type of tax they had to pay the most was building and land tax followed by the local administration tax and billboard or shop sign taxes respectively. For building and land tax payment, the sample group had commercial shop houses located approximately 100 meters from the main roads and the average amount of tax each had to pay annually was 9,780 Baht. For the local administration tax, each of the sample group had not more than 200 square waa and the average amount of tax each had to pay was 55 Baht per year. For signboard or shop sign tax, the sample group who paid for a shop signs written in Thai characters had to pay an average of 1,171 baht per person per year. Most of them made the tax payment around January-March. The natural person sample group was satisfied with the overall tax payment at a high level. They were satisfied most concerning the knowledge and competence of the officials in providing information about tax payment. The sample group of corporate persons had an average business terms of six years each. These were mainly limited partnerships or limited companies providing services and commerce with an average number of 26 employees per business. The businesses had an average income of 300,001 Baht per month. All of them had to pay building and land taxes and shop sign taxes. Most of them were commercial buildings located on the main road and the average tax payment per year was 36,277 Baht per business. The sample group had land of 401 square waa or more and had to pay tax of 225 Baht per business on average. The sample had to pay tax for their shop signs written in Thai mixed with foreign language characters together with pictures or other symbols at an average of 5,788 Baht per business annually. Most of them made arrangements for this tax payment around April-June. The corporate sample group was satisfied with the overall tax payment at a high level and they were most satisfied about the knowledge and competence of the officials in thoroughly providing information on tax payment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectภาษีen_US
dc.titleพฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้เสียภาษีในเขตเทศบาลเมืองแม่เหียะ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeBehavior and Satisfaction of Tax Payers in Mae Hia Town Municipality, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc336.2-
thailis.controlvocab.thashภาษี -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้ใช้บริการ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashผู้เสียภาษี -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 336.2 จ274พ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างรายได้ของเทศบาลเมืองแม่เหียะ รวมถึงพฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้เสียภาษีในเขตเทศบาลเมืองแม่เหียะ จังหวัดเชียงใหม่ โดยทำการสอบถามผู้ที่เสียภาษีประเภทบุคคลธรรมดา 315 คน และนิติบุคคล 35 คน รวม ทั้งสิ้น 350 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการให้น้ำหนักความพึงพอในโดยใช้ ลิเคิร์ทสเกล ผลการศึกษาพบว่า เทศบาลเมืองแม่เหียะ มีรายได้ 2 ส่วน คือ รายได้ที่จัดเก็บเอง และรายได้ที่ไม่ได้จัดเก็บเอง โดยรายได้ที่จัดเก็บเองส่วนใหญ่มาจากภาษีอากร ซึ่งได้แก่ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย และภาษีบำรุงท้องที่ ส่วนรายได้ที่ไม่ได้จัดเก็บเอง ประกอบด้วย ภาษีจัดสรร เงินอุดหนุนทั่วไป และเงินอุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ ตามลำดับ กลุ่มตัวอย่างประเภทบุคคลธรรมดา ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 48 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัวและพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001-30,000 บาท มีที่อยู่อาศัยเป็นของตัวเอง โดยชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย ตามลำดับ ในการชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน กลุ่มตัวอย่างมีลักษณะโรงเรือนเป็นอาคารพาณิชย์ มีทำเลที่ตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ที่อยู่ถัดจากถนนสายหลักไปอีก 100 เมตร และชำระภาษีต่อปีเฉลี่ย 9,780 บาทต่อคน ส่วนการชำระภาษีบำรุงท้องที่ กลุ่มตัวอย่างมีที่ดินที่ต้องชำระภาษีไม่เกิน 200 ตารางวาต่อคน และชำระภาษีต่อปีเฉลี่ย 55 บาทต่อคน และในการชำระภาษีป้าย กลุ่มตัวอย่างชำระภาษีป้ายประเภทอักษรไทยล้วน และชำระภาษีต่อปีเฉลี่ย 1,117 บาทต่อคน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ชำระภาษีช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม กลุ่มตัวอย่างประเภทบุคคลธรรมดา มีความพึงพอใจในการชำระภาษีในภาพรวมอยู่ระดับมาก โดยมีความพึงพอใจมากที่สุดในเรื่องของ เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการชำระภาษีได้เป็นอย่างดี กลุ่มตัวอย่างประเภทนิติบุคคล มีระยะเวลาในการดำเนินกิจการเฉลี่ย 6 ปีต่อกิจการ มีรูปแบบของธุรกิจเป็นห้างหุ้นส่วนจำกัดและบริษัทจำกัด มีธุรกิจประเภทการให้บริการและการพาณิชย์ มีพนักงานเฉลี่ย 26 คนต่อกิจการ และธุรกิจมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนตั้งแต่ 300,001 บาทขึ้นไป โดยทุกคนชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ในการชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน กลุ่มตัวอย่างมีลักษณะโรงเรือนเป็นอาคารพาณิชย์ มีทำเลที่ตั้งอยู่ติดกับถนนสายหลัก และชำระภาษีต่อปีเฉลี่ย 36,277 บาทต่อกิจการ ส่วนการชำระภาษีบำรุงท้องที่ กลุ่มตัวอย่างมีที่ดินที่ต้องชำระภาษีตั้งแต่ 401 ตารางวาขึ้นไป และชำระภาษีต่อปีเฉลี่ย 225 บาทต่อกิจการ และในการชำระภาษีป้าย กลุ่มตัวอย่างชำระภาษีป้ายประเภทอักษรไทยปนกับอักษรต่างประเทศหรือภาพและเครื่องหมายอื่นๆ และชำระภาษีต่อปีเฉลี่ย 5,788 บาทต่อกิจการ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ชำระภาษีช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน กลุ่มตัวอย่างประเภทนิติบุคคล มีความพึงพอใจในการชำระภาษีในภาพรวมอยู่ระดับมาก โดยมีความพึงพอใจมากที่สุดในเรื่องของ เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการชำระภาษีได้เป็นอย่างดีen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT248.26 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX252.27 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1294.97 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2252.05 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3200.88 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4561.6 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5238.42 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT230.46 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER781.4 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE183.44 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.