Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39280
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์เศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ | - |
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา โชคถาวร | - |
dc.contributor.author | มานิดา บุญจำเนียร | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-01-04T09:12:56Z | - |
dc.date.available | 2016-01-04T09:12:56Z | - |
dc.date.issued | 2557-10-13 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39280 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study are 1) to study factors and process which raise a conflict of forest resource management between Maenam community Papae Sub-district , Mae Tang District Chiang Mai Province and Mae Lao - Mae So Wildlife Conservation Area , 2) to find out recommendations for conflict management in Ban Maenam, Papae Sub-district and Mae Lao - Mae So Wildlife Conservation Area. The researcher collected data from documents ,report ,field survey and in-depth interviews 3 representative sample such as community members , government officials and private organization. The result showed that the conflict nature in the area caused by the invasion of villagers into the national forest reservation area to expanding and capitalist purchasing their land until occurred verification areas and villagers. The factors that caused conflict included government policy to managed forest areas, economic factor demand on commercialized production and intervention of outsiders and social and cultural factor such as the expansion of the communities in the area and changing of beliefs about treat the forest. The study also showed that during the initial period the effectiveness methods to reduce conflict in the national forest reservation . The government assistance, collaboration between the government and villagers was practiced to reconcile the problems and enforcing forest law seriously. Since then ,the conflict has been decreased but the conflict was not solved the problem substantially. The recommendation that in order to reduce conflict of resource management were recommendation and solutions from villagers, government officials and private organization. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การบริหารความขัดแย้ง | en_US |
dc.title | การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติของพื้นที่หมู่ 9 บ้านแม่แมม ตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Conflict management in National Foresst Rescrvation Area of Ban Maenam Papae Sub-district, Mae Tang District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.classification.ddc | 303.69 | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารความขัดแย้ง | - |
thailis.controlvocab.thash | ป่าสงวน | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 303.69 ม253ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) ศึกษาปัจจัยและกระบวนการที่ทำให้เกิดความขัดแย้ง ในพื้นที่หมู่ 9บ้านแม่แมม ต.ป่าแป๋ อ.แม่แตงจังหวัดเชียงใหม่กับพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติแม่แตง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่เลา แม่แสะ 2) หาข้อเสนอแนะและแนวทางจัดการกับความขัดแย้งในพื้นที่หมู่ 9 บ้านแม่แมม ต.ป่าแป๋ อ.แม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ กับพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แตงเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่เลาแม่แสะ ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์จากประชากร 3 กลุ่ม ในพื้นที่ตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่แตง ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาและสามารถให้ข้อมูลปัญหาที่เกิดขึ้นได้ แล้วรวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจัย เอกสารรายงาน รวมทั้งการสำรวจในพื้นที่แล้วทำการวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ผลการศึกษาสรุปพบว่า ลักษณะของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่หมู่บ้านแม่แมมเกิดจากการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่เลา แม่และของชาวบ้านบ้านแม่แมมโดยสาเหตุที่เกิดปัญหาเกิดจากการขยายที่ดินทำกินรวมไปถึงการเข้ามากว๊านซื้อที่ดินของนายทุน จนเกิดการเข้าตรวจสอบพื้นที่ของหน่วยงานป่าไม้และชาวบ้านถูกดำเนินคดี จนนำไปสู่จุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง ในส่วนของปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ได้แก่ ปัจจัยทางการเมือง ด้านนโยบายการจัดการการพื้นที่ป่าของรัฐ ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจที่มีการผลิตเชิงพาณิชย์มากขึ้น ประกอบกับการเข้ามาแสวงหาประโยชน์จากพื้นที่ของบุคคลภายนอกและนายทุน ปัจจัยทางด้านสังคม วัฒนธรรม มีการขยายตัวของชุมชนในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง รวมไปถึงความเปลี่ยนแปลงทางด้านความเชื่อในการรักษาป่าของชาวบ้าน ซึ่งปัจจัยด้านต่างๆเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการความขัดแย้ง ส่วนประสิทธิภาพและผลของการจัดการความขัดแย้งมีการใช้วิธีการจัดการความขัดแย้งในพื้นที่คือ ความช่วยเหลือของภาครัฐสู่ชุมชน ความร่วมมือทั้งของภาครัฐและชาวบ้านในพื้นที่ และการใช้กฎหมายป่าไม้อย่างจริงจัง ซึ่งผลของการจัดการความขัดแย้งดังกล่าวก็ทำให้สามารถลดความขัดแย้งที่ก่อจะให้เกิดความรุนแรงได้ แต่ก็ยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้ ข้อเสนอแนะและแนวทางการจัดการความขัดแย้งในพื้นที่ ผู้วิจัยสามารถรวบรวมได้ดังนี้ ข้อเสนอแนะและแนวทางการจัดการความขัดแย้งจากภาคประชาชน ,ข้อเสนอแนะและแนวทางการจัดการความขัดแย้งจากหน่วยงานภาครัฐ และ ข้อเสนอแนะและแนวทางการจัดการความขัดแย้งจากกลุ่มเอกชน องค์กรอิสระ | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 161.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 2 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 198.48 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 413.09 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 164.83 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 721.28 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 260.16 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 156.71 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 590.05 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 199.26 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.